เช็กให้ชัวน์ ก่อนตกเป็นเหยื่อสลิปปลอม สลิปโอนเงินปลอม ดูยังไง?

สลิปโอนเงินปลอม ดูยังไง

ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่ทำธุรกรรมการเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ เมื่อลูกค้าตกลงใจซื้อสินค้า มักจะส่งสลิปโอนเงินเข้ามาช่องทางการติดต่อแบบแบบรัวๆ ซึ่งทำให้ในบางครั้งอาจละเลย ไม่ได้ตรวจสอบสลิปโอนเงินให้ถี่ถ้วน จนอาจเจอดีถูกมิจฉาชีพส่งสลิปปลอมมาได้ เพราะทุกวันนี้ มีวิธีการปลอมแปลงสลิปโอนเงินให้ดูเหมือนกับของจริงมากๆ ถ้าหากไม่ลองสังเกตดูดี ๆ อาจตกเป็นเหยื่อได้โดยง่าย ดังนั้น เมื่อคนส่งสลิปโอนเงินมาให้ ต้องรู้และดูออกว่าสลิปนั้นเป็นของจริงหรือปลอม ซึ่งทาง Thunder Solution มีวิธรการตรวจสลิปปลอม อย่าง สลิปโอนเงินปลอม ดูยังไง? ง่ายๆมาให้ ดังนี้

เช็คให้ชัวน์ ตรวจสอบสลิปจริง-ปลอม ดูยังไงบ้าง

สำหรับชั่วโมงเร่งด่วน! ลูกค้าเต็มร้าน! เจ้าของร้านไม่อยู่ จะมีวิธีไหนที่ดีไปกว่าการใช้ระบบตรวจสอบสลิปอัตโนมัติผ่านทางไลน์ OA ของ Thunder Solution กัน มั่นใจหายห่วง เพียงติดตั้งบอทเช็คสลิปของเรา เข้ากับไลน์ OA หรือไลน์กลุ่มของร้านค้า ก็ตรวจสอบสลิปได้ทันที ทั้งรวดเร็ว ประหยัดเวลา แถมยังตรวจสอบได้แม่นยำ 100% ช่วยลดภาระการทำงานทั้งของพนักงานและเจ้าของร้าน แถมยังมีระบบหลังบ้านที่ช่วยดูแลบัญชีของร้านค้าอีกด้วย

เช็คสลิป

สลิปโอนเงิน จริง VS ปลอม

หลายๆคนคงเคยได้ยินข่าวเกี่ยวกับ สลิปปลอม แอปทำสลิปโอนเงินปลอม หรือแม้แต่โปรแกรมทำสลิปปลอม โดยที่หน้าตาของสลิปโอนเงินที่ได้จากแอปหรือโปรแกรมเหล่านั้น แทบจะไม่มีความแตกต่างจากสลิปโอนเงินธนาคารจริงเลย โดยถ้าหาดมีผู้ที่รู้เกี่ยวงกับรายละเอียดต่างๆของธนาคารก็อาจจะจับสังเกตได้ แต่หากเป็นแม่ค้า พ่อค้าธรรมดาที่ไม่มีเวลามาดูหรือเช็กให้แน่ใจ ก็ถูกหลอกแน่นอน ดังนั้นวันนี้ ทาง Thunder ได้มีวิธีสังเกตุสลิปโอนเงินของธนาคารต่างๆมาให้แล้ว ไปดูกันเลย

สลิปจริง-ปลอม

กลโกงการซื้อขายออนไลน์นั้นเกิดขึ้นได้หลากหลาย ซึ่งการปลอมสลิปเงินก็เป็นหนึ่งในปัญหาที่พ่อค้าแม่ค้าหลายคนอาจต้องมาประสบพบเจอซ้ำแล้วซ้ำเล่า ดังนั้นในฐานะผู้ขายจึงควรต้องระมัดระวังให้มากที่สุด และการรู้วิธีเช็คสลิปโอนเงินเหล่านี้ จะเป็นอีกตัวช่วยลดปัญหาถูกมิจฉาชีพหลอกลวงได้ ทำให้การค้าขายของคุณไม่มีปัญหาตามมาภายหลัง

วิธีป้องกันลูกค้าแกล้งโอน ตัวช่วยคู่ใจร้านค้าออนไลน์

สลิปโอนเงิน

ป้องกันลูกค้าแกล้งโอน ด้วยบอทเช็คสลิปโอนเงิน จาก Thunder

สำหรับระบบช่วยจัดการเช็คสลิปโอนเงิน หรือที่เรียกกันก็คือ บอทเช็คสลิป โอนเงิน บริการนี้จะเป็นการให้บริการผ่าน Line OA ซึ่งเราขอแนะนำให้รู้จักกับ Thunder Solution บริการที่จะช่วยให้พ่อค้า แม่ค้าหรือร้านค้าต่างๆสามารถเช็คสลิปโอนเงินได้แบบเรียลไทม์ เพียงแค่ส่งรูปสลิปโอนเงินที่ได้รับมา จากนั้นส่งเข้าไปในแชทไลน์ของ Thunder เพียงเท่านี้ก็สามารถรู้ผลได้ทันที ไม่เพียงแค่เช็คสลิปปลอม แต่ Thunder ยังสามารถระบุได้ว่าสลิปที่นำมาใช้นั้น เป็นสลิปใช้ซ้ำ ยอดเงินไม่ตรง หรือข้อมูลทั้งหมดนั้นถูกต้องหรือไม่อีกด้วย สามารถรู้ผลได้ทันที โดยทมี่ไม่ต้องเสียเวลาเช็ค ขนาดตัวหนังสือ หรือสแกน QR Code หรือรอแจ้งเตือนจากธนาคารเลย แถมยังสรุปยอดใช้จ่ายหลังจบงานในแต่ละวันได้อีกด้วย โดยที่ไม่ต้องเสียเวลามานั่งคิดบัญชีเอง แถมนยังสะดวก ปลอดภัย ข้อมูลถูกต้องแม่นยำ

สนใจใช้งาน ติดต่อเรา

หมดปัญหาสลิปปลอม สลิปซ้ำ สรุปรายรับได้ทุกยอดโอน ด้วย Thunder Solution ผู้ช่วย ตรวจเช็คสลิป ลดเวลาเช็ค เพิ่มเวลาชัวร์!

Thunder สามารถตรวจเช็คและเก็บข้อมูลรายรับได้ใน 1 วินาที!

เพียงติดตั้ง Thunder Bot แล้วถ่ายสลิปลงกลุ่มที่ติดตั้งไว้ ก็สามารถเช็คสลิปได้ทันที

รองรับระบบสาขา มีหน้าสรุปยอดให้คุณเช็คได้ แบบรายวัน รายเดือน รายปี!

สรุป

เพราะเรื่องเงิน เป็นเรื่องใหญ่ เราอยากเตือนพ่อค้าแม่ค้าทั้งหลายให้รอบคอบในการตรวจสลิป หรือเลือกใช้บริการเช็คสลิปปลอม เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่อาจจะเกิดจากลูกค้าแจ้งโอนแล้วหาย หรือส่งสลิปปลอมมาให้ เพราะภัยมิจฉาชีพมักมากับการทำธุกรรมทางออนไลน์เป็นส่วนใหญ่ ยิ่งเตรียมรับมือดีเท่าไหร่ก็ยิ่งเพิ่มความปลอดภัยให้กับธุรกิจมากขึ้นเท่านั้น หากสนใจใช้บริการของ Thunder Solution สามารถกดทดลองใช้ฟรีก่อนได้ ลดความเสียหายที่จะเกิดกับร้านคุณแน่นอน

จะเห็นได้ว่าการทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ แม้จะมีข้อดีอยู่มากโดยเฉพาะในเรื่องความสะดวกสบาย แต่ผู้ใช้งานก็ต้องระมัดระวังให้เป็นพิเศษ เพราะความสะดวกสบาย อาจทำให้เราไม่ทันได้คิดทบทวนจนหลงกลายเป็นเหยื่อให้กับมิจฉาชีพโดยไม่รู้ตัว  ที่สำคัญมิจฉาชีพยังมีกลโกงอีกมากที่พร้อมจะหลอกล่อเหยื่อให้ตายใจ การติดตามข่าวสารของธนาคารหรือหน่วยงานราชการอย่างใกล้ชิด จะช่วยให้รู้วิธีการป้องกันและกลโกงต่าง ๆ จนไม่หลงตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพได้ และสามารถทำธุรกรรมทางการเงินทางออนไลน์ได้สบายใจอีกด้วย

**สิ่งที่พึงระวังคือ ห้ามโพสต์รูปภาพสลิปลงในโซเซียลมีเดีย เพื่อป้องกันไม่ให้มิจฉาชีพนำภาพไปตัดต่อ และใช้หลอกลวงผู้อื่นได้**

บทความที่เกี่ยวข้อง